Customs Clearance
  • การปฏิบัติพิธีการศุลกากร
  • การนำเข้าสินค้า
    • คู่มือใบขนสินค้าขาเข้า
      • โครงสร้างข้อมูล
      • การคำนวณมูลค่าเงินนำเข้า
      • รูปแบบเลขที่ใบขนสินค้า
      • ประเภทของเอกสาร (Document Type)
      • ระบบทะเบียนผู้มาติดต่อ
      • วันนำเข้า (Arrival Date)
      • เลขที่ใบตราส่ง (Bill of Lading)
      • การกำหนดสถานที่
      • Shipping Marks
      • จำนวนและน้ำหนักของสินค้า
      • มีปัญหาพิกัด ราคา พบพนักงานศุลกากร
      • รหัสสกุลเงินตราและอัตราแลกเปลี่ยน
      • หลักการรวมรายการของบัญชีราคาสินค้า
      • ราคาของในการจัดทำข้อมูลใบขนสินค้าขาเข้า
      • INCOTERMS
      • ภาค 4 ของที่ได้รับยกเว้นอากร
        • 1 ภาค 4 สุทธินำกลับ
        • 2 ภาค 4 นำกลับไปซ่อม
        • 3 ภาค 4 ทัณฑ์บนนำเข้าชั่วคราว
        • 5 ภาค 4 ของใช้ส่วนตัว
        • 6 ภาค 4 ของใช้ในบ้านเรือนที่ใช้แล้ว
        • 7 ภาค 4 อุปกรณ์ของอากาศยานหรือเรือ
        • 10 ภาค 4 ของที่ได้รับเอกสิทธิ์
        • 11 ภาค 4 นำเข้ามาเพื่อบริจาค
        • 13 ภาค 4 ยุทธภัณฑ์ที่ใช้ในราชการ
        • 14 ภาค 4 ตัวอย่างสินค้า
        • 16 ภาค 4 นำเข้ามาสำหรับคนพิการ
        • 17 ภาค 4 นำเข้ามาสำหรับการประชุมระหว่างประเทศ
        • วัสดุอุปกรณ์ในการขุดเจาะน้ำมัน
      • สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร
      • การชำระหรือวางประกันค่าภาษีอากร
        • การขอวางประกันโต้แย้งพิกัดอัตราศุลกากร
        • ขอวางประกันกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง
        • วางประกันอากรตอบโต้การทุ่มตลาดและการอุดหนุน
        • หลักการบันทึกค่าภาษีอากรและวางประกัน
      • Payment Method and Guarantee Method
      • รหัสเหตุผลการโต้แย้ง (Argumentative Reason Code)
      • ประเภทค่าภาษีอากร (Duty Type)
      • หน่วยงานผู้ออกใบอนุญาต
      • การตรวจสอบระหว่างใบขนสินค้ากับ Manifest
      • รหัสสิทธิพิเศษ
    • ภาษีสรรพสามิต
      • การคำนวณภาษีสินค้าสรรพสามิต
        • เครื่องดื่มเข้มข้น
        • เครื่องดื่มชนิดผง เกล็ด
        • เครื่องดื่ม
        • ยาสูบ
        • สุรา
      • โครงสร้างราคาขายปลีกแนะนำ
      • สืบค้นรหัสสินค้าสรรพสามิต
    • การชำระค่าภาษีอากร ค่าธรรมเนียม
    • มาตรการปกป้องและตอบโต้ทางการค้า
  • สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร
    • คู่มือสิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร
      • การโอนย้ายของออกจาก
        • ขอคืนอากรตามมาตรา 29
        • ส่งเสริมการลงทุน BOI
        • คลังสินค้าทัณฑ์บน
        • เขตปลอดอากร (Freezone)
        • เขตประกอบการเสรี (I-EAT Freezone)
      • เลขทะเบียนสิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร
        • ขอคืนอากรตามมาตรา 29
        • คลังสินค้าทัณฑ์บน
        • เขตปลอดอากร/เขตประกอบการเสรี
  • ใบอนุญาต/ใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์
    • รหัสยกเว้นไม่ต้องมีใบอนุญาต
  • สิทธิพิเศษทางการค้า
    • Checklist
    • ASEAN
    • ASEAN - China
  • ถ่ายลำ/ผ่านแดน
  • ข้อมูลติดต่อด่านศุลกากร
Powered by GitBook
On this page

Was this helpful?

  1. สิทธิพิเศษทางการค้า

ASEAN

PreviousChecklistNextASEAN - China

Last updated 5 years ago

Was this helpful?

เขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area: AFTA)

ASEAN

เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) เกิดจากความต้องการร่วมมือทางการค้าจากประเทศต่างๆในอาเซียน เพื่อให้อาเซียนเป็นภูมิภาคที่มีศักยภาพทางด้านเศรษฐกิจ และเพิ่มอำนาจในการต่อรองทางด้านเศรษฐกิจในเวทีโลก พร้อมกันนี้อาเซียนยังมีความต้องการที่จะดึงดูดประเทศต่างๆให้เข้ามาลงทุน เพื่อความเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่องภายในภูมิภาค โดย AFTA นั้น จะทำให้การค้าขายสินค้าในอาเซียนเป็นไปอย่างเสรี มีการคิดอัตราภาษีระหว่างกันในระดับที่ต่ำ และปราศจากข้อกำหนดทางการค้า อันจะส่งผลให้ประเทศสมาชิกจะมีต้นทุนการผลิตสินค้าที่ลดลง อีกทั้งเป็นการเพิ่มปริมาณทางด้านการค้าในภูมิภาคให้มีมากขึ้น ทำให้อาเซียนเป็นภูมิภาคที่มีการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วและมั่นคง

อาเซียนดำเนินการจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) โดยมุ่งเน้นไปที่การขจัดอุปสรรคทางการค้าทั้งหลายภายในภูมิภาค ทั้งในด้านภาษีและเครื่องกีดขวางทางการค้าต่างๆที่มิใช่ภาษี ยกตัวอย่างเช่น การจำกัดโควต้าการนำเข้า เป็นต้น โดยจะยกเว้นแต่เพียงสินค้าที่มีผลกระทบต่อความมั่นคง ศีลธรรม ชีวิต และศิลปะ เท่านั้น ซึ่งมาตรการที่สำคัญที่สุดก็คงจะหนีไม่พ้นมาตรการทางภาษี โดยอาเซียนมีเป้าหมายในการลดภาษีในบัญชีลดภาษี (IL) ให้เหลือร้อยละ 0-5 ภายในค.ศ.2002 และตั้งเป้าให้เหลือร้อยละ 0 ภายใน ค.ศ.2010 สำหรับประเทศ ASEAN 6 (ประเทศไทย ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศมาเลเซีย ประเทศสิงคโปร์ ประเทศฟิลิปปินส์ และประเทศบรูไน) ยกเว้น สินค้าอ่อนไหว (SL) เช่น กลุ่มสินค้าประเภทมันฝรั่ง กาแฟของประเทศไทย หรือ กลุ่มสินค้าประเภท กาแฟ ชา ของประเทศบรูไน เป็นต้น โดยสินค้าประเภทนี้กำหนดให้ต้องลดภาษีเหลือ 0-5% ภายใน ค.ศ.2010 และยกเลิกมาตรการที่มิใช่ภาษี และยกเว้นรายการสินค้าอ่อนไหวสูง (HSL) เช่น กลุ่มสินค้าประเภทข้าวของมาเลเซีย ที่จะต้องลดภาษีจากร้อยละ 40 ให้เหลือร้อยละ 20 ในค.ศ.2010 สำหรับกลุ่มประเทศ CLMV (ประเทศลาว ประเทศเวียดนาม ประเทศเมียนมาร์ และประเทศกัมพูชา) นั้น ได้มีเป้าหมายในการลดภาษีในบัญชีลดภาษี (IL) ให้เหลือ ร้อยละ 0-5 ภายใน ค.ศ.2010 และตั้งเป้าให้เหลือร้อยละ 0 ภายใน ค.ศ.2015 ยกเว้นสินค้าอ่อนไหว (SL) และสินค้าอ่อนไหวสูง (HSL) เช่นเดียวกัน โดยการกำหนดมาตรการดังกล่าวก็เพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมายของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ที่มุ่งเป็นตลาดเดียวและฐานการผลิตร่วมกัน และเป้าหมายในการเชื่อมโยงเศรษฐกิจอาเซียนกับเศรษฐกิจโลกด้วย

ประเทศสมาชิก

ประกาศกระทรวงการคลัง

ประกาศกรมศุลกากร

เลขที่ประกาศ

รายละเอียด

207/2562

114/2562

74/2562

303/2561

187/2560

158/2560

240/2559

ประกาศสำนักพิกัดอัตราศุลกากร

Reference :

· · · · · · · · ·

ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การยกเว้นอากรและลดอัตราอากรศุลกากรสำหรับของที่มีถิ่นกำเนิดจากอาเซียน ลงวันที่ 10 พฤศจิกายน 2560
ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การยกเว้นอากรและลดอัตราอากรศุลกากรสำหรับของที่มีถิ่นกำเนิดจากอาเซียน (30 ธันวาคม 2559)
ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การยกเว้นอากรและลดอัตราอากรศุลกากรสำหรับของที่มีถิ่นกำเนิดจากอาเซียน (ฉบับที่ 2)
ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การยกเว้นอากรและลดอัตราอากรศุลกากรสำหรับของที่มีถิ่นกำเนิดจากอาเซียน
ประกาศสำนักพิกัดอัตราศุลกากร ที่่ 8/2554 เรื่อง การยื่น Invoice Declaration จากประเทศบรูไน ดารูซาลาม มาเลเซีย และสิงคโปร์ เพื่อผ่านพิธีการศุลกากรในการใช้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรในระบบรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าด้วยตนเองของอาเซียน โดยการวางประกัน
ประกาศสำนักพิกัดอัตราศุลกากร ที่ 2/2559 การระบุใน Form D กรณีการซื้อขายผ่านนายหน้าโดยนายหน้าและผู้ผลิตอยู่ในประเทศเดียวกัน
ประกาศสำนักพิกัดอัตราศุลกากร ที่่ 1/2561เรื่อง การสะสมถิ่นกำเนิดสินค้าระหว่าง Form D กับโครงการนำร่องการรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าด้วยตนเองของภูมิภาคโครงการที่ 1และโครงการที่ 2 ภายใต้ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน
ประกาศสำนักพิกัดอัตราศุลกากรที่ 3/2561 เรื่องการตีความคำว่า 'other quanity' ในช่องที่ 9 ของหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า (Form D) ภายใต้ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน
ประกาศกองพิกัดอัตราศุลกากรที่ 10/2562 เรื่อง การใช้ Back-to-Back CO ควบคู่กับการใช้ใบกำกับราคาสินค้า Third Country invoicing ภายใต้ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน
สถาบันพระปกเกล้า
กรมศุลกากร
แก้ไขเพิ่มเติมประกาศกรมศุลกากรที่ 303/2562
แก้ไขเพิ่มเติมประกาศกรมศุลกากร ที่ ๑๘๗/๒๕๖๐
แก้ไขเพิ่มเติมประกาศกรมศุลกากรที่ ๑๘๗/๒๕๖๐
แก้ไขเพิ่มเติมประกาศกรมศุลกากร ที่ 187/2560
หลักเกณฑ์และพิธีการการยกเว้นอากรและลดอัตราอากรศุลกากรสำหรับของที่มีถิ่นกำเนิดจากอาเซียน
หลักเกณฑ์และพิธีการการยกเว้นอากรและลดอัตราอากรศุลกากรสำหรับของที่มีถิ่นกำเนิดจากอาเซียน
หลักเกณฑ์และพิธีการการยกเว้นอากรและลดอัตราอากรศุลกากรสำหรับของที่มีถิ่นกำเนิดจากอาเซียน
กัมพูชา
ไทย
บรูไน
พม่า
ฟิลิปปินส์
มาเลเซีย
ลาว
เวียดนาม
สิงคโปร์
อินโดนีเซีย
ประเทศพม่า
ฟิลิปปินส์
บรูไน
ประเทศกัมพูชา
ไทย
มาเลเซีย
สิงคโปร์
เวียดนาม
อินโดนีเซีย
ลาว