Customs Clearance
  • การปฏิบัติพิธีการศุลกากร
  • การนำเข้าสินค้า
    • คู่มือใบขนสินค้าขาเข้า
      • โครงสร้างข้อมูล
      • การคำนวณมูลค่าเงินนำเข้า
      • รูปแบบเลขที่ใบขนสินค้า
      • ประเภทของเอกสาร (Document Type)
      • ระบบทะเบียนผู้มาติดต่อ
      • วันนำเข้า (Arrival Date)
      • เลขที่ใบตราส่ง (Bill of Lading)
      • การกำหนดสถานที่
      • Shipping Marks
      • จำนวนและน้ำหนักของสินค้า
      • มีปัญหาพิกัด ราคา พบพนักงานศุลกากร
      • รหัสสกุลเงินตราและอัตราแลกเปลี่ยน
      • หลักการรวมรายการของบัญชีราคาสินค้า
      • ราคาของในการจัดทำข้อมูลใบขนสินค้าขาเข้า
      • INCOTERMS
      • ภาค 4 ของที่ได้รับยกเว้นอากร
        • 1 ภาค 4 สุทธินำกลับ
        • 2 ภาค 4 นำกลับไปซ่อม
        • 3 ภาค 4 ทัณฑ์บนนำเข้าชั่วคราว
        • 5 ภาค 4 ของใช้ส่วนตัว
        • 6 ภาค 4 ของใช้ในบ้านเรือนที่ใช้แล้ว
        • 7 ภาค 4 อุปกรณ์ของอากาศยานหรือเรือ
        • 10 ภาค 4 ของที่ได้รับเอกสิทธิ์
        • 11 ภาค 4 นำเข้ามาเพื่อบริจาค
        • 13 ภาค 4 ยุทธภัณฑ์ที่ใช้ในราชการ
        • 14 ภาค 4 ตัวอย่างสินค้า
        • 16 ภาค 4 นำเข้ามาสำหรับคนพิการ
        • 17 ภาค 4 นำเข้ามาสำหรับการประชุมระหว่างประเทศ
        • วัสดุอุปกรณ์ในการขุดเจาะน้ำมัน
      • สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร
      • การชำระหรือวางประกันค่าภาษีอากร
        • การขอวางประกันโต้แย้งพิกัดอัตราศุลกากร
        • ขอวางประกันกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง
        • วางประกันอากรตอบโต้การทุ่มตลาดและการอุดหนุน
        • หลักการบันทึกค่าภาษีอากรและวางประกัน
      • Payment Method and Guarantee Method
      • รหัสเหตุผลการโต้แย้ง (Argumentative Reason Code)
      • ประเภทค่าภาษีอากร (Duty Type)
      • หน่วยงานผู้ออกใบอนุญาต
      • การตรวจสอบระหว่างใบขนสินค้ากับ Manifest
      • รหัสสิทธิพิเศษ
    • ภาษีสรรพสามิต
      • การคำนวณภาษีสินค้าสรรพสามิต
        • เครื่องดื่มเข้มข้น
        • เครื่องดื่มชนิดผง เกล็ด
        • เครื่องดื่ม
        • ยาสูบ
        • สุรา
      • โครงสร้างราคาขายปลีกแนะนำ
      • สืบค้นรหัสสินค้าสรรพสามิต
    • การชำระค่าภาษีอากร ค่าธรรมเนียม
    • มาตรการปกป้องและตอบโต้ทางการค้า
  • สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร
    • คู่มือสิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร
      • การโอนย้ายของออกจาก
        • ขอคืนอากรตามมาตรา 29
        • ส่งเสริมการลงทุน BOI
        • คลังสินค้าทัณฑ์บน
        • เขตปลอดอากร (Freezone)
        • เขตประกอบการเสรี (I-EAT Freezone)
      • เลขทะเบียนสิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร
        • ขอคืนอากรตามมาตรา 29
        • คลังสินค้าทัณฑ์บน
        • เขตปลอดอากร/เขตประกอบการเสรี
  • ใบอนุญาต/ใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์
    • รหัสยกเว้นไม่ต้องมีใบอนุญาต
  • สิทธิพิเศษทางการค้า
    • Checklist
    • ASEAN
    • ASEAN - China
  • ถ่ายลำ/ผ่านแดน
  • ข้อมูลติดต่อด่านศุลกากร
Powered by GitBook
On this page

Was this helpful?

  1. การนำเข้าสินค้า
  2. ภาษีสรรพสามิต
  3. การคำนวณภาษีสินค้าสรรพสามิต

เครื่องดื่มชนิดผง เกล็ด

Previousเครื่องดื่มเข้มข้นNextเครื่องดื่ม

Last updated 5 years ago

Was this helpful?

  1. พิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต สำหรับสินค้าเครื่องดื่มชนิดผง เกล็ด หรือเครื่องดื่มเข้มข้น ตามพระราชกฤษฎีกากำหนดประเภทสินค้าตามพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2560 คือ

    • 16.90(1) ผลิตภัณฑ์ที่ใช้เป็นเครื่องดื่มที่มีลักษณะผง เกล็ด หรือเครื่องดื่มเข้มข้นที่มีส่วนผสมของน้ำตาลและสามารถละลายน้ำได้ แต่ไม่รวมถึงผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและผลิตภัณฑ์นมที่อยู่ในรูปแบบผงตามกฎหมายว่าด้วยอาหาร

  2. ในช่อง "ปริมาณตามข้อแนะนำ" ให้ใส่ข้อมูล "ปริมาตรหรือน้ำหนักของผงหรือเกล็ดเครื่องดื่มที่ใช้ในการชงแต่ละครั้งตามข้อแนะนำ" ที่ระบุไว้ข้างภาชนะบรรจุภัณฑ์

  3. ในกรณีที่เครื่องดื่มผงหรือเกล็ดบรรจุอยู่ในซองแบบชงเครื่องดื่มหนึ่งแก้วต่อหนึ่งซอง น้ำหนัก (ปริมาณ) ผงหรือเกล็ดตามข้อแนะนำ เท่ากับ น้ำหนักสุทธิ เช่น 1 ซอง (17.5 กรัม)

  4. ในช่อง "ปริมาตรหลังผสม" ให้ใส่ข้อมูล "ปริมาตรของน้ำหรือของเหลวที่ใช้ผสมกับเครื่องดื่มผงหรือเกล็ดตามคำแนะนำหรือวิธีการชง" ที่ระบุไว้ที่ข้างภาชนะบรรจุภัณฑ์ เช่น 130 มล./แก้ว

  5. ในช่อง "น้ำหนัก/ภาชนะ(กรัม)" ให้ใส่ข้อมูล "น้ำหนัก (ปริมาณ) ของผงหรือเกล็ดเครื่องดื่มสุทธิต่อภาชนะ" ที่ระบุไว้ที่ภาชนะบรรจุภัณฑ์

  6. ในช่อง "จำนวนภาชนะ" ให้ใส่ข้อมูล "จำนวนภาชนะทั้งหมด"

  7. หากข้างขวดหรือที่ฉลากไม่ได้แจ้งข้อมูลใด ๆ ก็ตามข้างต้น ให้ผู้ประกอบอุตสาหกรรมเป็นผู้แจ้งสำแดงข้อมูลของตนเองให้ครบถ้วน เพื่อประกอบการพิจารณาคำนวณภาษีสรรพสามิต

  8. ภาษีสรรพสามิตต่อภาชนะบรรจุดังกล่าวที่ตารางคำนวณออกมาได้นั้น เป็นภาษีสรรพสามิตแต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น ยังไม่ได้รวมภาษีเพิ่มขึ้นเพื่อราชการส่วนท้องถิ่น

  9. หลักเกณฑ์และวิธีการคำนวณดังกล่าวข้างต้นเป็นไปตามหนังสือสำนักแผนภาษี ด่วนที่สุดที่ กค 0619/1288 ลงวันที่ 2 พฤศจิกายน 2560

enter image description here
enter image description here