Customs Clearance
  • การปฏิบัติพิธีการศุลกากร
  • การนำเข้าสินค้า
    • คู่มือใบขนสินค้าขาเข้า
      • โครงสร้างข้อมูล
      • การคำนวณมูลค่าเงินนำเข้า
      • รูปแบบเลขที่ใบขนสินค้า
      • ประเภทของเอกสาร (Document Type)
      • ระบบทะเบียนผู้มาติดต่อ
      • วันนำเข้า (Arrival Date)
      • เลขที่ใบตราส่ง (Bill of Lading)
      • การกำหนดสถานที่
      • Shipping Marks
      • จำนวนและน้ำหนักของสินค้า
      • มีปัญหาพิกัด ราคา พบพนักงานศุลกากร
      • รหัสสกุลเงินตราและอัตราแลกเปลี่ยน
      • หลักการรวมรายการของบัญชีราคาสินค้า
      • ราคาของในการจัดทำข้อมูลใบขนสินค้าขาเข้า
      • INCOTERMS
      • ภาค 4 ของที่ได้รับยกเว้นอากร
        • 1 ภาค 4 สุทธินำกลับ
        • 2 ภาค 4 นำกลับไปซ่อม
        • 3 ภาค 4 ทัณฑ์บนนำเข้าชั่วคราว
        • 5 ภาค 4 ของใช้ส่วนตัว
        • 6 ภาค 4 ของใช้ในบ้านเรือนที่ใช้แล้ว
        • 7 ภาค 4 อุปกรณ์ของอากาศยานหรือเรือ
        • 10 ภาค 4 ของที่ได้รับเอกสิทธิ์
        • 11 ภาค 4 นำเข้ามาเพื่อบริจาค
        • 13 ภาค 4 ยุทธภัณฑ์ที่ใช้ในราชการ
        • 14 ภาค 4 ตัวอย่างสินค้า
        • 16 ภาค 4 นำเข้ามาสำหรับคนพิการ
        • 17 ภาค 4 นำเข้ามาสำหรับการประชุมระหว่างประเทศ
        • วัสดุอุปกรณ์ในการขุดเจาะน้ำมัน
      • สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร
      • การชำระหรือวางประกันค่าภาษีอากร
        • การขอวางประกันโต้แย้งพิกัดอัตราศุลกากร
        • ขอวางประกันกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง
        • วางประกันอากรตอบโต้การทุ่มตลาดและการอุดหนุน
        • หลักการบันทึกค่าภาษีอากรและวางประกัน
      • Payment Method and Guarantee Method
      • รหัสเหตุผลการโต้แย้ง (Argumentative Reason Code)
      • ประเภทค่าภาษีอากร (Duty Type)
      • หน่วยงานผู้ออกใบอนุญาต
      • การตรวจสอบระหว่างใบขนสินค้ากับ Manifest
      • รหัสสิทธิพิเศษ
    • ภาษีสรรพสามิต
      • การคำนวณภาษีสินค้าสรรพสามิต
        • เครื่องดื่มเข้มข้น
        • เครื่องดื่มชนิดผง เกล็ด
        • เครื่องดื่ม
        • ยาสูบ
        • สุรา
      • โครงสร้างราคาขายปลีกแนะนำ
      • สืบค้นรหัสสินค้าสรรพสามิต
    • การชำระค่าภาษีอากร ค่าธรรมเนียม
    • มาตรการปกป้องและตอบโต้ทางการค้า
  • สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร
    • คู่มือสิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร
      • การโอนย้ายของออกจาก
        • ขอคืนอากรตามมาตรา 29
        • ส่งเสริมการลงทุน BOI
        • คลังสินค้าทัณฑ์บน
        • เขตปลอดอากร (Freezone)
        • เขตประกอบการเสรี (I-EAT Freezone)
      • เลขทะเบียนสิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร
        • ขอคืนอากรตามมาตรา 29
        • คลังสินค้าทัณฑ์บน
        • เขตปลอดอากร/เขตประกอบการเสรี
  • ใบอนุญาต/ใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์
    • รหัสยกเว้นไม่ต้องมีใบอนุญาต
  • สิทธิพิเศษทางการค้า
    • Checklist
    • ASEAN
    • ASEAN - China
  • ถ่ายลำ/ผ่านแดน
  • ข้อมูลติดต่อด่านศุลกากร
Powered by GitBook
On this page
  • การขอวางประกันโต้แย้งพิกัดอัตราศุลกากร /การวางประกัน
  • การขอวางประกันในกรณีที่พนักงานศุลกากรเห็นว่ามีปัญหาเกี่ยวกับจำนวนค่าอากรสำหรับของที่กำลังผ่านศุลกากร
  • การขอเรียกร้องขอคืนเงินอากรเพราะเหตุที่ได้เสียไว้เกินจำนวนที่พึงต้องเสียจริง

Was this helpful?

  1. การนำเข้าสินค้า
  2. คู่มือใบขนสินค้าขาเข้า
  3. การชำระหรือวางประกันค่าภาษีอากร

การขอวางประกันโต้แย้งพิกัดอัตราศุลกากร

Previousการชำระหรือวางประกันค่าภาษีอากรNextขอวางประกันกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง

Last updated 5 years ago

Was this helpful?

การขอวางประกันโต้แย้งพิกัดอัตราศุลกากร /การวางประกัน

การขอวางประกันในกรณีที่พนักงานศุลกากรเห็นว่ามีปัญหาเกี่ยวกับจำนวนค่าอากรสำหรับของที่กำลังผ่านศุลกากร

การวางประกัน กรณีที่พนักงานศุลกากรเห็นว่ามีปัญหาเกี่ยวกับค่าอากรในการปฏิบัติพิธีการ ตามมาตรา 55 และถูกวางประกันไว้แล้ว หากผู้นำของเข้ามีความประสงค์ขอวางประกันของที่นำเข้าในลักษณะเดิมที่นำเข้ามาในภายหลัง ให้สำแดงพิกัดอัตราศุลกากรในอัตราสูง ชำระภาษีอากรในอัตราอากรที่สำแดงต่ำและถูกจับกุม โดยนำยอดอากรที่เป็นส่วนต่างของค่าภาษีขาเข้าสำแดงไว้ในช่องวางประกัน แต่ให้ชำระภาษีมูลค่าเพิ่มในพิกัดอัตราอากรสูงเต็มจำนวน โดยให้บันทึกพิกัดอัตราศุลกากรในอัตราที่ขอวางประกันในช่อง Argumentative ทั้ง 3 ช่องตามตัวอย่างด้านล่างนี้ พร้อมทั้ง ให้ระบุเลขที่ใบขนสินค้าขาเข้าฉบับที่มีปัญหาที่ช่อง Reference Declaration Number และ Reference Declaration Line Number โดยจัดทำข้อมูลใบขนสินค้าขาเข้าเพื่อขอพบพนักงานศุลกากรกรณีมีปัญหาพิกัด/ราคา (Assessment Request)

หลักการสำแดงข้อมูลใบขนสินค้าขาเข้า กรณีขอวางประกันปัญหาพิกัดอัตราศุลกากร

enter image description here

หลักการสำแดงข้อมูลใบขนสินค้าขาเข้า กรณีขอวางประกันปัญหาราคา

การขอเรียกร้องขอคืนเงินอากรเพราะเหตุที่ได้เสียไว้เกินจำนวนที่พึงต้องเสียจริง

การขอคืนเงินอากรกรณีที่เสียไว้เกิน ตามมาตรา 25 ผู้ประกอบการต้องสำแดงพิกัดอัตราศุลกากรในอัตราสูง ชำระอากรอัตราอากรสูง และขอคืนอากรไว้ในพิกัดอัตราอากรซึ่งต่ำกว่าที่สำแดง ในช่อง Argumentative ทั้ง 4 ช่องตามตัวอย่างด้านล่างนี้ โดยจัดทำข้อมูลใบขนสินค้าขาเข้าเพื่อขอพบพนักงานศุลกากรกรณีมีปัญหาพิกัด/ราคา (Assessment Request)

หลักการสำแดงข้อมูลใบขนสินค้าขาเข้า กรณีขอโต้แย้งปัญหาพิกัดอัตราศุลกากร

หลักการสำแดงข้อมูลใบขนสินค้าขาเข้า กรณีขอโต้แย้งปัญหาตามมาตรา 14

ตัวอย่าง

  • พิกัดที่ต้องชำระ คือ 34022013 อัตรา 10 %

  • พิกัดที่ขอโต้แย้ง คือ 38099110 อัตรา 0 %

ส่งข้อมูลดังนี้

หลักการสำแดงข้อมูลใบขนสินค้าขาเข้า กรณีขอโต้แย้งปัญหาราคา

enter image description here
enter image description here
enter image description here
enter image description here
enter image description here